วันพุธที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2560

あいづち

ทุกคนสังเกตไหมคะ เวลาคนญี่ปุ่นสนทนากัน จะมีสิ่งหนึ่งที่เรียกว่าあいづち ซึ่งเป็นลักษณะเด่นอย่างนึงของญี่ปุ่นเลย โดยคนญี่ปุ่นจะแทรกあいづちเข้าไประหว่างฟังคู่สนทนาเล่าเรื่อง เพื่อให้ผู้เล่ารู้ว่าเราสนใจฟังเรื่องที่เค้าเล่าและตั้งใจฟังอยู่นั่นเอง ซึ่งในบางครั้ง คนที่ไม่ได้เป็นคนญี่ปุ่น อาจเข้าใจผิดไปเวลาคนญี่ปุ่นพูดあいづちว่า เค้าเห็นด้วยกับสิ่งที่เราพูดแต่จริงๆแล้วคนญี่ปุ่นใช้あいづちเป็นสัญญาณบอกว่าเข้าใจสิ่งที่เราพูด ตัวอย่างของあいづちที่มักเข้าใจความหมายผิด เช่น
  • はい、ええ、うん (yes, with varying degrees of formality)
  • そうですね (that's how it is, I think)
  • そうですか (is that so?)
  • ほんとう、ほんと、ほんとに、ほんま (really)
  • なるほど (I see, that's right)
  • 頷き (nodding)

ในครั้งนี้เรามีตัวอย่างการใช้あいづちในรายการวิทยุโดยมีพิธีกรชายเป็นผู้อ่านเรื่องที่ทางผู้ฟังส่งมา และมีพิธีกรหญิงหรืออีกนัยนึงคือผู้ฟังเรื่องเล่าและออกความคิดเห็นเพื่อสร้างสีสันไม่ให้รายการน่าเบื่อ


1.   安住紳一郎の日曜天国2012624日「結婚式の思い出―園長先生のスピーチ“子作り”―」AD:かりやようこ(02:3704:09

福岡県、代表取締役さん、43歳女性の方ありがとうございます〈ありがとうございます〉十数年前に幼稚園の先生をしている友人の結婚披露宴に出席した時のことです〈はい〉友人が勤めている、幼稚園の、園長先生のスピーチを、出席者全員、この人間違えている、と思いながら聞いていました、それは友人は幼稚園に10年近く勤めていたのでベテランであることを強調して、彼女は子供の世話をするプロ、子育てのプロと言いたいところを園長先生は相当緊張していたらしく、スピーチで、子育てを子作りとずーっと言い〈{笑}〉間違えていました、新婦の、××さんは、子作りのプロでありますから、〈{笑}〉いや、子作りなら、〈{笑}〉××さんに任せれば、〈{笑}〉心配ありません、さらには、子作りのことは、私がしっかりと教え込んでいますので、〈{笑}〉と、〈{笑}〉とんでもなく誤解されそうなフレーズのオンパレード、〈{笑}〉結婚披露宴の独特の雰囲気の中で、もちろん出席者からは、少しも笑いは起こりません、園長先生は、そのまま子作りを連発し続け、〈{笑}〉スピーチを終え普通に席に戻られ、おそらく隣に座る奥さんから間違えを指摘されたのでしょう、〈あー〉披露宴が終わるまで項垂れてため息ばかりついていました、〈あー〉披露宴では、言い間違えたとしても、決して下ネタ寄りにならないように注意したい、と思った話です、〈へー〉ふーん、〈男性の園長先生だったんですねー〉そうですね、〈んー〉ま、〈じゃなおさら微妙な空気に{笑いながら}〉んー、〈はいー〉ま、非常に冷え、た感じなるでしょうねー、〈んー〉そうですよねー、結婚披露宴ね、〈えー〉そうスピーチ間違うと大きいですからね、〈ねー〉

เรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับงานแต่งงาน โดยครูใหญ่ของโรงเรียนอนุบาลที่ใช้คำศัพท์ผิดเพราะตื่นเต้นตอนพูดอวยพรในงานคือใช้ คำว่า子作りแทน子育てคำในปีกกาคือพิธีกรหญิงเป็นผู้พูด สังเกตได้ว่าพิธีกรหญิงพูดขอบคุณผู้ส่งเรื่องเข้ามาหลังจากพิธีกรชายพูดขอบคุณ ทำให้ดูมีส่วนร่วมด้วย และพิธีกรหญิงยังพูดว่าはいหลังจากพิธีกรชายพูดเกริ่นเรื่องให้ฟังเหมือนเป็นการส่งสัญญาณว่ารับรู้แล้วว่าเรื่องกำลังจะเริ่มต้มขึ้น หลังจากนั้นพิธีกรหญิงไม่พูดแทรกอีกเลยมีแต่หัวเราะอาจเพราะเรื่องกำลังสนุกถ้าพูดขัดเข้าไปน่าจะลดอรรถรสลง และตอนท้ายๆของเรื่องก็ใช้あーในจุดที่เริ่มมีการพลิกผันของสถานการณ์ ในตอนที่แสดงความคิดเห็น ทั้งพิธีกรชายและหญิงใช้ね、ねーเยอะมากและมีการใช้んーเหมือนเป็นการส่งสัญญาณว่าคล้อยตามกับความคิดเห็นของฝ่ายตรงข้าม

12. 安住紳一郎の日曜天国2012812日「必死に走った話―母に車に乗せてもらえなくて―」AD:かりやようこ(10441145

福岡市のにゅうさん、33歳女性の方、ありがとうございます〈ありがとうございます〉、必死に走った話、私が小学生だった頃、学校の帰り道をとぼとぼと一人で歩いていると、軽くクラクションを鳴らされました、振り返ると母の運転する軽自動車が、助手席には親戚の同い年の子が乗っています、〈ん〉私も乗せてってくれるんだろうと思ったら、そのまま通り過ぎて行ってしまいました、〈何それ{笑いながら}〉すると、急に心の底から得体のしれない感情があふれ、私は泣きながら走って車を追いかけました、〈はーい〉母はとうに先へ行ってしまっていたので、家まで一人で走りぬきました、以来私の中では、子犬や小鴨がよちよちと母親を追いかけるかわいい動物ムービーは悲しい映像コンテンツです、〈あーあーあー〉ねー、〈もーねー〉んーそう、〈心の深いところにきちゃったんですねー〉そうですねー、〈んー〉まあでもねー、仕方ないねー、〈んー〉それ母ね、〈んー〉いつも私を見てくれると思ってたら実はみたいな〈んー〉、そういうことなんでしょうね、〈そうですね〉

เรื่องนี้เกี่ยวกับประสบการณ์ที่วิ่งแบบสุดแรงที่สุด โดยคนเขียนเล่าเกี่ยวกับตอนประถมที่วิ่งตามรถจักรยานยนต์ของแม่เพราะอยากนั่งซ้อนท้ายรถกลับบ้านด้วย

พิธีกรหญิงยังคงพูดขอบคุณผู้ส่งเรื่องมาเหมือนเป็นการบอกว่าตนมีส่วนร่วมด้วย โดยเรื่องนี้ไม่มีการพูดเกริ่นเหมือนเรื่องก่อนหน้าว่ารวมๆเนื้อเรื่องจะเกี่ยวกับอะไร พิธีกรหญิงจึงไม่ได้พูดส่งสัญญาณ(はい)เหมือนเรื่องก่อน แต่ตรงกลางเรื่องแทนที่จะหัวเราะอย่างเดียวกลับได้แสดงความแปลกใจออกมาด้วยว่า何それ และมีการส่งあいづちอยู่นิดหน่อยคือ はーいกับ หลังจากนั้นก็ปล่อยให้ฝั่งชายเล่าไปเรื่อยๆจนจบซึ่งมีการบอกด้วยว่าจากเหตุการณ์ที่วิ่งตามรถแม่แต่ไม่ทันมันส่งผลอย่างไรในตอนนั้น ฝ่ายหญิงจึงพูดว่าあーあーあーเหมือนเป็นการแสดงออกว่ารับรู้ว่ามีผลอย่างไรบ้าง ในตอนแสดงความคิดเห็น ใช้ね、ねーเยอะมาก และใช้んーเยอะ 
https://twitter.com/ghost_is_cat

จากทั้งสองตัวอย่างนี้จะเห็นได้ว่าพิธีกรหญิงมีแพทเทิร์นในการพูดคล้ายๆกันคือตอนต้นเรื่องแสดงออกให้รู้ว่ารับฟัง และมักจะไม่ค่อยพูดสอดกลางเรื่อง จนจบเรื่องจึงแสดงความคิดเห็นโดยใช้รูปね、ねーและんーเยอะ

4 ความคิดเห็น:

  1. อันแรกดูท่าจะตลก ขำตลอดเลย สรุปได้เข้าใจดีเรื่องการพูด 相槌 และการพูดแสดงความคิดเห็น การใช้ 相槌 สำหรับคนไทยน่าจะยาก เพราะไม่คุ้น ยิ่งต้องพูดเพื่อแสดงว่าฟังแล้ว ยิ่งไม่คุ้นเข้าไปใหญ่ แล้วช่วงที่เขาตัดให้สามารถใส่ 相槌 ได้ ถ้าไม่ฟังดีๆคงพูดไม่ถูกแน่ๆเลย

    ตอบลบ
  2. เออ เราแทบไม่ได้สังเกตเลยว่าเขาพูดあいづちตอนท้ายมากกว่าตอนกลางๆเรื่อง
    ชอบรูปแมว น่ารักก ดูเข้าใจง่ายดีด้วย 555

    ตอบลบ
  3. ช่วงกลางๆ ที่เข้าเนื้อหาของเรื่องเขาหัวเราะลูกเดียวเลยเนอะ แอบรู้สึกเหมือนกันว่าบางที あいづち ถ้าเยอะเกินไป อื้มๆไฮ่ๆบ่อยไปก็ดูขัดจังหวะการเล่า ใช้การหัวเราะหรือพยักหน้าก็ดีเนอะ

    ตอบลบ
  4. เราก็รู้สึกว่าเขาใช้ ねー เยอะมาก แบบ เนอะ อื้อ เนอะ คือจะพูดไปในทางเดียวกับพิธีกรหลักคือคนผู้ชายแล้วจะไม่พูดประเด็นขึ้นมาเลย

    ตอบลบ

before & after のあいづち

สวัสดีค่ะทุกคน นี่อาจเป็นการอัพบล็อคครั้งสุดท้ายแล้วนะคะ เพราะฤดูสอบปลายภาคได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว  ที่ผ่านมาจะเห็นว่าเราอัพเรื่องあいづちไป ซึ่งอาท...